วันอาทิตย์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

รถดีเซลรางปรับอากาศ DAEWOO

รถดีเซลรางปรับอากาศ DAEWOO 
เป็นรถดีเซลรางประเภทดีเซลรางปรับอากาศ
APD.20 หมายเลข 2513-2524
APN.60 (APD.60) หมายเลข 2525-2544
APN.20 หมายเลข 2121-2128
จำนวน 40 คัน


ผลิตโดย
ใช้เครื่องยนต์ Cummins NT-885R1 กำลังแรงม้า 350 แรงม้า ที่ 2100 RPM
ข้อน่ารู้

Daewoo Heavy Industries.ltd ประเทศเกาหลี

ขับเคลื่อนด้วยระบบไฮดรอลิคแบบอัตโนมัติ โดยถ่ายกำลังไปยังเครื่องถ่ายทอดกำลังผ่านแกนเพลา (คล้ายกับรถยนต์ทั่วไป

แบบล้อ 2-4 Wheel Bogie ระบบกันสะเทือนแบบแหนบลม
ใช้เครื่องถ่ายทอดกำลังแบบ ไฮดรอลิคควบคุมโดยอัติโนมัติ พร้อมวงจรเปลี่ยนทิศทางขับภายในตัว
จำนวนที่นั่ง 
-รถดีเซลรางมีห้องขับ 76 ที่นั่ง
-รถดีเซลรางไม่มีห้องขับ 80 ที่นั่ง
ความเร็วสูงสุด 150 กิโลเมตร/ชั่วโมง
นำเข้ามาเมื่อ
APD.20 14 - 28 ตุลาคม พศ.2538 (2513-2524 เว้น 2523) และ 1 พฤศจิกายน พศ.2538 (หมายเลข 2523)
APD.60 27 มิถุนายน พศ.2539 เป็นต้นมา
APN.20 14 ตุลาคม พ.ศ. 2538

-รถนอนปรับอากาศของแดวู (ตัวใหม่) เดิมเคยพ่วงกับรถดีเซลราง แต่ปัจจุบันไม่มีการพ่วงแต่อย่างใด

วันเสาร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2556

รถดีเซลราง BREL รุ่น Sprinter (Class 158)

แบบมีห้องขับ หมายเลข 2501-2512
แบบไม่มีห้องขับ 2113-2120
ทั้งหมด 20 คัน

ผลิตโดย British Rail Engineering Limited (BREL) ประเทศอังกฤษ

ใช้เครื่องยนต์ Cummins NT-885 ให้กำลัง 285 แรงม้า
ขับเคลื่อนด้วยระบบไฮดรอลิคแบบอัตโนมัติ โดยถ่ายกำลังไปยังเครื่องถ่ายทอดกำลังผ่านแกนเพลา (คล้ายกับรถยนต์ทั่วไป)
กว้าง 2.7 ม.
ยาว 23.21 ม.
ความเร็วสูงสุดที่ 140 กม./ชม.
ราคาประมาณ22.5-23.3 ล้านบาท
นำเข้ามาเมื่อปี 2534
มีสถิติการตัดบัญชีทั้งหมด 4 คัน
มีที่นั่งทั้งหมด 76 ที่นั่ง (มีห้องขับ) และ 80 ที่นั่ง (แบบไม่มีห้องขับ)


ข้อน่ารู้เกี่ยวกับรถดีเซลรางรุ่นนี้

-ได้รับฉายาว่า สปรินเตอร์ ยอดนักวิ่ง
-หมายเลข 2509 และ 2512 ได้รับการปรับปรุงห้องโดยสาร เปลี่ยนเบาะ ติดตั้งไฟหน้า และ ทำสีใหม่ ในขณะที่ คันอื่น ได้ทำสีใหม่ เท่านั้น บางคันเปลี่ยนเบาะรุ่นเดิม
-เดิม รถรุ่นนี้ ใช้ความกว้างของราง 1.435 ม. ตามขนาดที่วิ่งในประเทศอังกฤษ แต่ได้ปรับปรุงเป็น 1.000 ม. สำหรับประเทศไทย
-เป็นรถดีเซลรางที่ส่งตรงจากอังกฤษ
-ที่ด้านข้างของตัวรถ จะมีคำว่า "ด่วนพิเศษ" ติดอยู่
-ปัจจุบันมีให้บริการ 2 ขบวนคือ
ด่วนพิเศษดีเซลราง 3/4 กรุงเทพ-สวรรคโลก/ศิลาอาสน์-กรุงเทพ
และ รถพิเศษนำเที่ยว 987/988 กรุงเทพ-สวนนงนุช-กรุงเทพ
โดยบางครั้งก็นำรถดีเซลรางแดวูมาหมุนเวียนใช้ด้วย

วันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2556

รถดีเซลรางโตกิว THN และ NKF



ปีที่นำเข้า (NKF)พ.ศ. 2528
หมายเลขรถ (THN) กซข.1101-1140
หมายเลขรถ (NKF) กซข.1201-1264ล
จำนวน 104 คัน 
บริษัทผู้สร้าง TOKYU Corporation
                      Hitachi
                      Nippon Sharyo ประเทศญี่ปุ่น
ใช้เครื่องยนต์ Cummins NT-855 กำลังแรงม้า 235 แรงม้า                                        
                     (บางคันใช้ CUMMINS NTA855-R1 ให้กำลัง 350 แรงม้า)      
Torque Converter  NICO รุ่น DBSFRG 100 (บางคันดัดแปลงเป็น TC Voith)
แบบล้อ 2-4 Wheel Bogie
ความจุเชื้อเพลิง 300 ลิตร
ระบบห้ามล้อ Air Brake
ความกว้าง 2,815 มิลลิเมตร
ความสูง 3,730 มิลลิเมตร
ความยาว 20,800 มิลลิเมตร
น้ำหนักรถดีเซลราง 33.500 ตัน (น้ำหนักรถเปล่า) 35.322 ตัน (น้ำหนักทำการ)
น้ำหนักกดเพลา 12 ตัน
จำนวนที่นั่ง 74 ที่นั่ง
ความเร็วสูงสุด 120 กิโลเมตร/ชั่วโม

ปีที่นำเข้า (THN)พ.ศ. 2526
ปีที่นำเข้า (NKF)พ.ศ. 2528
การจัดวางล้อ ไม่ทราบ

ปุ่มเปิด-ปิดประตู (THN)ด้านหน้าอยู่ตรงซ้ายมือ ด้านหลังอยู่ตรงขวามือ
ปุ่มเปิด-ปิดประตู (NKF)ด้านหน้าอยู่ตรงขวามือ ด้านหลังอยู่ตรงซ้ายมือ

เบาะนั่ง (THN) เบาะแบบเบาะนวม สีน้ำเงิน
เบาะนั่ง (NKF) เบาะแบบพลาสติกแข็ง

THN แบบพิเศษ

รถสีลายใหม่ ได้แก่ 
1101 1103 1104 1106 1107 1108 1109 1110 1112 1113 1114 1115 1116 1117 1118 1119 1120 1121 1122 1123 1124 1125 1126 1128 1129 1130 1131 1132 1134 1135 1136 1137 และ 1138 เป็นรถสีลายใหม่ บริเวณขอบกระจกหน้ารถด้านบนมีสีดำ ด้านหน้า-ด้านข้าง คาดสีฟ้า-ชมพูอ่อน ด้านหน้าซ้าย มีคำว่า SRT

1102 1105 1111 เป็นรถสีลายใหม่ที่มีสีฟ้าทั้งตัวรถ (ใช้ทำขบวนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนชั่วคราว)
1139 1140 เป็นรถสีลายใหม่ที่มีสีฟ้าครึ่งตัวรถ
NKF แบบพิเศษ


1221 และ 1241 ติดโฆษณารถไฟนำเที่ยวของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย "เที่ยวรถไฟครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก" ปัจจุบันเป็นรถสำรองสายบ้านแหลม-แม่กลอง

1230 1238 และ 1263 ติดโฆษณารถไฟนำเที่ยวของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย "แดนสวรรค์ตะวันตก 

รถสีลายใหม่  ได้แก่ 1201 1202 1203 1204 1205 1206 1207 1208 1211 1212 1214 1215 1216 1217 1218 1219 1220 1222 1223 1224 1225 1226 1227 1228 1229 1232 1234 1235 1236 1237 1239 1240 1242 1244 1245 1246 1247 1248 1249 1250 1251 1252 1253 1255 1256 1258 1260 1262 และ 1264  บริเวณขอบกระจกหน้ารถด้านบนมีสีดำ ด้านหน้า-ด้านข้าง คาดสีฟ้า-ชมพูอ่อน ด้านหน้าซ้าย มีคำว่า SRT
1257 เป็นรถสีลายใหม่ที่มีสีฟ้าทั้งตัวรถ (ใช้ทำขบวนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนชั่วคราว)
1233 1243 และ 1259 เป็นรถสีลายใหม่ที่มีสีฟ้าครึ่งตัวรถ 







วันจันทร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2556

รถดีเซลราง (Diesel Railcar)


ดีเซลราง (diesel railcar)  หรือ Diesel Multiple Unit  เป็นรถโดยสารที่มีเครื่องยนต์ดีเซลขับเครื่องด้วยตนเอง เดิมมีการรถไฟได้นำรถชนิดนี้มาใช้งานในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2470 ซึ่งเป็นเครื่องกลไอน้ำ สร้างโดย บริษัทบอลด์วิน สหรัฐอเมริกา รถดีเซลรางรุ่นแรกๆ ที่นำมาใช้บริการรับส่งผู้โดยสารชานเมืองในปีพ.ศ. 2475 นั้น มีหมายเลข 11 ถึง 16 เป็นรถที่ประกอบด้วยรถกำลัง 1 คัน และรถพ่วงสำหรับผู้โดยสารล้วนอีก 1 คันภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง รถดีเซลรางรุ่นใหม่ๆ ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะสูง มีความคล่องตัวในการใช้งานและสามารถพ่วงต่อกันคราวละหลายชุดได้ โดยแต่ละชุดเครื่องยนต์ทำงานพร้อมกับคันที่มีคนควบคุมที่ต้นขบวนรถดีเซลรางมีคุณสมบัติที่เหนือกว่าขบวนรถซึ่งใช้รถลากจูงหลายประการ คือ ขบวนการดีเซลรางเร่งความเร็วและหยุดได้เร็วกว่า จึงทำให้ใช้เวลาในการเดินทางน้อยกว่าและเมื่อถึงปลายทาง พนักงานขับรถเปลี่ยนไปขับท้ายขบวนก็สามารถออกรถได้ทันที ไม่ต้องเปลี่ยนตั้งหัวขบวนใหม่เช่นการใช้รถจักร นอกจากนั้นยังสามารถพ่วงติดต่อกันได้ไม่จำกัด เพราะรถทุกชุดขับเคลื่อนด้วยตัวเอง รถที่เป็นตัวกำลังจะทำงานสัมพันธ์กันทุกเครื่องยนต์ ทำให้เฉลี่ยนกำลังขับเคลื่อนออกไปตลอดขบวนขึ้นทางลาดชันได้ดีกว่ารถดีเซลรางเหมาะกับขบวนหรือชุดรถที่มีผู้โดยสารน้อยมาก ไม่นิยมพ่วงยาว เพราะ ถ้าพ่วงยาว จะทำให้อัตราการกินน้ำมันมากกว่าแบบหัวรถจักรลากจูง โดยอัตราการกินน้ำมันอยู่ที่ 500 มล./คัน/กิโลเมตร จริงอยู่ที่มันสามารถพ่วงมากแค่ไหนก็ได้เพราะว่ามีเครื่องยนต์เป็นของตนเอง แต่ในแง่ของความคุ้มค่าในการพ่วงยาว รถจักรจะคุ้มค่ามากๆ จึงไม่ค่อยเห็นรถดีเซลรางที่พ่วงมากกว่า 7 ตู้ถ้าไม่จำเป็น แต่จะเห็นบ่อยที่รถดีเซลรางจะพ่วงระหว่าง 2-5 ตู้ ปัจจุบัน รถดีเซลรางสามารถทำความเร็วได้มากกว่า 120 กม./
เครื่องยนต์ของดีเซลราง

Compressors ของรถดีเซลราง

วันเสาร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2556

หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า General Electric (GE CM22-7i)


General Electric (GE CM22-7i) หรือ GEA หมายเลข 4523-4560 
ทั้งหมด 38 คัน


ใช้เครื่องยนต์ Cummins KTA-50L 2 เครื่องยนต์
แรงม้า 2 x เครื่องยนต์  1,250 HP @ 1,800 rpm
น้ำหนักรถจักร 80.60 ตัน ( Empty ) / 86.50 ตัน ( In working Order )
กดเพลา 14.42 ตัน
การจัดวางล้อ Co-Co all axles powered (มี 2 แคร่ แต่ละแคร่มี 3 เพลาล้อ ทุกเพลาล้อติดตั้งมอเตอร์ลากจูง 1 ลูก)
พิกัดตัวรถ กว้าง 2,820 มม. / สูง 3,635 มม. / ยาว 19,355 มม.
ระบบห้ามล้อ Pure Air Brake
ความจุ 4,540 ลิตร
ความเร็วสูงสุด 100 กม./ชม.
บริษัทผู้สร้าง General Electric Transportation Systems รัฐ Pennsylvania USA.
ราคา 54,350,498 บาท
ใช้งาน พ.ศ. 2538

4528 และ 4544 เป็นรถจักรในพระราชพิธีเปิดเส้นทางรถไฟสายหนองคาย - ท่านาแล้ง
4554 เป็นรถที่ปรับปรุงห้องขับติดเครื่องปรับอากาศ 2 เครื่อง
'4553' และ 4535 เป็นรถที่ปรับปรุงห้องขับติดเครื่องปรับอากาศทั้ง2ด้านรวม4เครื่อง
ทำสีใหม่ หมายเลข 4523 4527 4529 4530 4531 4532 4533 4534 4535 4536 4538 4539 4540 4542 4546 4548 4549 4550 4551 4552 4553 4554 4555 4556 4557 4559 4560

ตัดบัญชี หมายเลข 4526 และ 4544

หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า Hitachi (Hitachi 8DA-36C)





หมายเลข 4501-4522 จำนวน 22 คัน

ใช้เครื่องยนต์ Cummins KTTA-50L 
แรงม้า 2 x 1430 HP @ 1800 rpm (ปัจจุบันได้มีการลดสเตจเทอร์โบ ทำให้เหลือ 2 x 1250 HP)
น้ำหนักรถจักร 84.50 ตัน ( Empty ) / 90.00 ตัน ( In working Order )
กดเพลา 15.00 ตัน
การจัดวางล้อ Co-Co มี 2 แคร่ แต่ละแคร่มี 3 เพลาล้อ ทุกเพลาล้อติดตั้งมอเตอร์ลากจูง 1 ลูก
พิกัดตัวรถ กว้าง 2,780 มม. / สูง 3,870 มม. / ยาว 19,900 มม.
ระบบห้ามล้อ Pure Air Brake (With Vacumm)
ความจุ 5,000 ลิตร
ความเร็วสูงสุด 120 กม./ชม.
บริษัทผู้สร้าง Hitachi Ltd. โรงงานมิโด ประเทศญี่ปุ่น
ราคา 75,059,743.00 บาท
นำเข้าเมื่อ  พ.ศ. 2536

ทำสีใหม่ ได้แก้ หมายเลข 4501 4504 4506 4508 4510 4511 4513 4516 4518 4519 4520 4521 4522
4504 และ 4505 เป็นรถจักรในพระราชพิธีเปิดเส้นทางรถไฟสายหนองคาย - ท่านาแล้ง
ตัดบัญชี ได้แก่หมายเลข 4502


หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า General Electric (GE UM12C)


หัวรถจักรรุ่นนี้มี 50 คัน คือ 4001-4050

        
ใช้เครื่องยนต์ Cummins KT-38L ให้กำลัง 660 แรงม้า 2 เครื่องยนต์
แรงม้า 2 x 660 HP @ 2,000 rpm
น้ำหนักรถจักร 70.178 ตัน ( Empty ) / 75.00 ตัน ( In working Order )
กดเพลา 12.5 ตัน
การจัดวางล้อ Co-Co
พิกัดตัวรถ กว้าง 2,794 มม. / สูง 3,753 มม. / ยาว 16,288 มม.
ระบบห้ามล้อ Combined Air&Vacuum Brake
ความจุ 3,500 ลิตร
ความเร็วสูงสุด 103 กม./ชม.
บริษัทผู้สร้าง General Electric , U.S.A.
ราคา 4,590,384.30 บาท 
นำเข้าเมื่อ พ.ศ. 2507    หมายเลข 4001-4040
                  พ.ศ. 2509    หมายเลข 4041-4050

ระบบห้ามล้อของ GE  มี 3 ประเภท  คือ ลมอัด ลมดูด ลมอัดและลมดูด
ลมดูดอย่างเดียว หมายเลข 4001 - 4028 (ยกเว้น 4003 4004 4005 4006 4007 4008 4011 4016 4017 4018 4023 4026)
ลมดูด/ลมอัด หมายเลข 4003, 4004, 4005, 4006, 4007, 4008, 4011, 4016, 4017, 4023, 4026, 4029 - 4050
ลมอัดอย่างเดียว หมายเลข 4018 (ปัจจุบันใช้สับเปลี่ยนที่ย่านสินค้าบางซื่อ)
    
ตัดบัญชี หมายเลข 4003 4032 4035 4046 4049

ทำสีตัวรถใหม่ หมายเลข 4002 4004 4005 4006 4007 4008 4011 4016 4017 4019 4020 4023 4025 4026 4030 4031 4033 4034 4036 4038 4039 4041 4045 4047

เป็นรถหุ้มเกราะ หมายเลข 4029 4033 4047 

4035 จะมีกระดิ่งหู
4030 จะมีหูสีแดงสองข้าง หลายคนเรียกว่า มิกกี้เมาส์